ฟันคุดทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ หรือปวดบวม
ฟันกรามซี่สุดท้ายที่ขึ้นได้ตามปกติ
ฟันคุดหรือฟันกรามซี่สุดท้าย จำเป็นต้องมีการถอน หรือผ่าออก โดยทันตแพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมช่องปาก เพราะว่าอยู่ในลักษณะที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติ หรือไม่ได้อยู่ในแนวที่เดียวกับฟัน ส่วนมากฟันคุดจะเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย หรือช่วงอายุยี่สิบต้นๆ หากปล่อยฟันคุดไว้จะมีความเสี่ยงต่อภาวะต่างๆ
ติดตามเราได้ที่ … เฟสบุ๊ค : เกร็ดสุขภาพ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ถ้ารูปแบบฟันคุด มีการล้มเอียงตัดกับฟันข้าง จะไม่สามารถถอนออกได้ด้วยวิธีธรรมดา เเต่ต้องอาศัยการผ่าตัดเอาออก
ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
กินยาแก้ปวด หากมีอาการปวดสามารถกินยาแก้ปวดที่ทันตแพทย์แนะนำ หรืออาจประคบเย็บบริเวณขากรรไกรก็ช่วยบรรเทาอาการปวดได้เช่นกัน
ทันตแพทย์สอบถามประวัติด้านสุขภาพของคนไข้ ที่อาจจะส่งผลหลังการผ่าตัดหรือถอนฟัน เช่น การหยุดไหลของเลือด อาการแพ้ยา หากคนไข้มีโรคประจำตัวควรแจ้งทันตแพทย์ให้ทราบก่อนเข้ารับการผ่าฟันคุด
ทันตแพทย์จะพิจารณาจากหลายปัจจัย เช่น:
คุกกี้เหล่านี้มีไว้เพื่อช่วยให้เราเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของคุณได้ดียิ่งขึ้น ข้อมูลที่ได้จะถูกนำไปวิเคราะห์และใช้ในการพัฒนาปรับปรุงเนื้อหา บริการ และการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดให้กับคุณ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวจะไม่มีการเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกและจะถูกเก็บเป็นความลับ
ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า? อยากให้เข้าใจก่อนว่า หากฟันกรามซี่สุดท้ายนั้นขึ้นได้อย่างเต็มซี่ ก็จะไม่เรียกว่า ฟันคุด รวมถึงถ้าฟันซี่สุดท้ายนั้นมีฟันคู่สบ และอยู่ในตำแหน่งที่ใช้งานได้ ก็ไม่จำเป็นต้องผ่า/ถอนออก
ฟันคุดขึ้นเอียง ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า เบียดฟันซี่ข้างเคียง
ดูเพิ่มเติม เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง